อิ๊คคิวซัง แค่การ์ตูนหรือตำนานที่มีอยู่
อิ๊กคิวซัง' Ikkyu-san มีตัวตนจริงๆครับ
ท่านมีชื่อในวัยเด็กว่า 'เซนงิกามารุ' เกิดเมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ.1349 (พ.ศ.1892) เมืองซะกะโน ใกล้เมืองเกียวโต
'อิ๊คคิวซัง' มีพ่อเป็นจักรพรรดิฝ่ายเหนือ ส่วนมารดา ที่การ์ตูนเรียก 'ท่านแม่' ของเณรน้อย เป็นเจ้าหญิงในราชวงศ์ฝ่ายใต้ และถูกขับจากวังตั้งแต่อิ๊กคิ
สาเหตุที่ 'ท่านแม่' ที่เป็นเจ้าหญิงถูกขับออกจากวัง เพราะถูกฝ่ายตรงข้ามใส่ร้ายป้
วัดอังโกะกุจิ
'ท่านแม่'ทรงให้'อิ๊กคิวซัง'บวช
ซึ่งเณรน้อยได้ฉายาตอนนั้นว่า 'ชูเคน'
เมื่อบวชเป็นเณร อิ๊คคิววังตั้งอกตั้งใจศึ
เมื่ออายุประมาณ 10 ขวบ อิ๊กคิวซังแต่งกลอนวิพากษ์วิ
กระทั่งอายุได้ 13 ปี 'อิ๊คคิวซัง' จึงมีโอกาสเข้าพบแม่ทัพใหญ่ในยุ
เป็นแม่ทัพคนเดียวกับที่
เมื่ออายุได้ 17 ปี 'อิ๊กคิวซัง' ออกจากวัดอังโกะกุจิแล้วไปฝากตั
ที่วัดแห่งนี้ หลวงพ่อเคนโอ เน้นการปฏิบัติธรรม โดยพระและเณรในวัด ต้องทำงานหนัก และอยู่กับสิ่งสกปรกเสียส่
เมื่อหลวงพ่อเคนโอมรณภาพ
'อิ๊กคิวซัง' จึงเดินทางไปวัดอิชิยามา และปฏิบัติธรรมด้วยการอดอาหาร 7 วัน 7 คืน พร้อมสวดมนต์อุทิศส่วนบุญส่
มีเรื่องเล่ากันว่า การมรณภาพของหลวงพ่อเคนโอ ทำให้อิ๊คคิวซังเสียใจมาก ถึงขั้นคิดฆ่าตัวตาย
'อิ๊คคิวซัง' ตัดสินใจฆ่าตัวตายด้วยการเดิ
'ถ้าพระโพธิสัตว์ต้องการให้ข้
ระหว่างที่ดำดิ่งลงในท้องน้ำ 'อิ๊กคิวซัง' พลันนึกถึงใบหน้า 'ท่านแม่' และรำลึกถึงคำสอนของท่านขึ้นมา
คำสอนนั้นคือ 'เป็นลูกผู้ชายต้องไม่ย่อท้อ'
'อิ๊กคิวซัง' จึงตะเกียกตะกายกลับขึ้นฝั่ง
เมื่อท่านอายุได้ 23 ปี 'อิ๊คคิวซัง' จึงไปฝากตัวเป็นศิษย์ของหลวงพ่
หลวงพ่อคะโซ เป็นพระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์ แต่พอใจที่จะใช้ชีวิตอย่
ดังนั้น เมื่อมาอยู่ที่วัดแห่งนี้ อิ๊กคิวซังจึงต้องทำงานทั้งวัน และปฏิบัติธรรมอย่างหนักหน่วง
นอกจากใช้แรงงานในวัดแล้ว อิ๊กคิวซังยังต้องสานรองเท้า เย็บเสื้อผ้าตุ๊กตาผู้หญิง รวมทั้งออกไปขายแรงงานในหมู่บ้
ที่สำคัญคือ อิ๊คคัวซังโดนพระรุ่นพี่ที่ไม่
ในที่สุด ความเพียรพยายามที่จะค้นหาสั
โดยสามารถแก้ปริศนาธรรมที่
และ 'พระโชจุน' ก็ได้รับฉายาใหม่ว่า 'อิ๊กคิว โซจุน' ซึ่งหมายความว่า 'รู้พ้นจากโลกสมมติตามบัญญัติ
รูปปั้นอิ๊คคิวที่วัด Ikkyuji Temple
ตำนานญี่ปุ่นระบุว่า 'อิ๊กคิวซัง' น่าจะเป็นพระภิกษุที่บรรลุ
เพราะท่านสามารถบรรลุ
'เหตุแห่งความทุกข์และความเศร้
นี่คือคือแก่นธรรมที่ท่านอิคคิ
ในหนังสือ'ปล่อยวางอย่างเซน' ของคุณ ละเอียด ศิลาน้อย ได้กล่าวถึงการสอนธรรมของท่านอิ
โดยกล่าวถึงเหตุการณ์ที่ท่านนิ
นินากาวะตอบ 'ฉันมาที่นี่แต่เพียงลำพังคนเดี
อิ๊กคิวซังจึงตอบกลับไปว่า 'ถ้าคุณคิดว่าคุณมาและไปจริงๆ แล้วนั่นเป็นโมหะ (ความหลงผิด) ของท่านละ ขอให้ผมได้แสดงทางซึ่งไม่มี
ด้วยคำพูดเพียงเท่านี้ 'อิ๊กคิวซัง' ก็ได้ช่วยเปิดเผยเส้นทาง (แห่งธรรม) ให้แก่นินากาวะ ทำให้นินากาวะยิ้มแล้วจากไปอย่
ความเรื่อง 'อิ๊กคิวซัง' บรรลุแก่นธรรมทราบถึง 'หลวงพ่อคะโซ' ทำให้ท่านประสงค์จะมอบใบสำเร็
แต่'อิ๊กคิวซัง'ปฏิเสธ !!!
ท่านให้เหตุผลว่า 'ทุกสิ่งทุกอย่างล้วนเป็นสิ่
ท่านจึงออกธุดงค์
กระทั่งอายุ 34 ปี 'อิ๊กคิวซัง' จึงมีโอกาสเข้าเฝ้าท่านพ่อ ซึ่งเป็นองค์จักรพรรดิ
และเป็นช่วงที่ท่านถูกกล่าวถึง และเป็นที่ขยาดหวาดกลัวและเกลี
เพราะท่านไม่พอใจกับการ 'ยึดติด' ของบรรดาพระทุกรูป
ครั้งหนึ่ง 'อิ๊กคิวซัง' ไปร่วมงานครอบรอบวั
เนื่องเพราะมีพระภิกษุชั้นผู้
แต่เบื้องหลังกลับลักลอบให้แม่
ท่านด่าทอพระผู้มีอิทธิพลมี
วัดคิมิโอชิ
โดยส่วนตัว 'อิ๊กคิวซัง' ก็คบหาและปฏิบัติกับโสเภณีอย่
ท่านเคยแบ่งส้มจากบาตรให้โสเภณี
เคยปีนเขาเสี่ยงตายไปหาสมุ
กระทั่งเมื่อท่านอายุได้ 75 พรรษา ระหว่างที่ธุดงค์เร่ร่อนหลบภั
ท่านได้พบกับ 'โมริ' ศิลปินขอทานตาบอด และท่านได้รับนางเป็นภรรยา
ทั้งคู่ได้ใช้ชีวิตร่วมกันคื
แต่นางก็กลับมาหาอิ๊กคิวอีกหน เพราะไม่สามารถดำรงชีวิตลำพั
เมื่ออายุได้ 85 ปี จักรพรรดิทรงแต่งตั้งให้ 'อิ๊กคิวซัง' เป็นเจ้าอาวาสวัดไดโตะกุจิ ซึ่งเป็นวัดหลวงที่สำคัญที่สุ
แต่ท่านรับตำแหน่งเพียงแค่วั
'อิ๊คคิวซัง' มรณภาพหลังจากกลับมาอยู่วัดเมี
โดยท่านป่วยเป็นมาลาเรีย และละสังขารในท่านั่งสมาธิในอ้
ในเวลา 21 พฤศจิกายน ค.ศ.1481(พ.ศ.2024)
'อิ๊คคิวซัง' มรณภาพเมื่ออายุ 88 ปี